ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

fusion splice เครื่องสไปส์ สายไฟเบอร์ออฟติก ราคาถูก

เครื่องสไปส์ สายไฟเบอร์ออฟติก


Digital fusion splicer with automatic focus function
- Fiber core can be display clearly
- Single X or Y view and X & Y view simultaneously
- Auto detect cleaved endface fault
- Display fiber cleaved and offset angle
- Display core and clad offset
- 5.6 inch TFT color LCD monitor with clear digital image display
- USB & VGAinterface
- Software upgrade via USB interface

Model RY-F600H with Fiber Holders
Applicable fibers SM (ITU-T G.652), MM (ITU-T G.651), DS (ITU-T G.653), NZDS (ITU-T G.655)
Fiber cleaved length 10 ~16mm (Coating diameter<250µm);16mm(Coating diameter250~1000µm)
Fiber diameter Cladding diameter:80 ~150µm , Coating diameter:100 ~1000µm
Auto focusing Available
Fiber aligning method Core aligning, clad aligning, manual aligning
Average splice loss 0.02dB (SM), 0.01dB (MM), 0.04dB (DS), 0.04dB( NZDS)
Splicing time Typical 9 sec,with standard SM fiber
Heating time Typical 36 sec
Applicable sleeves 60mm, 40mm and a series of micro sleeves
Tension test 2N(option)
Electrode life 5000
Battery capacity Typical 400 cycles (splice and heat)
Monitor 5.1 inch TFT color monitor
Terminal USB 1.1 and VGA , software upgrade via USB interface
Operating condition 0 ~ 5000m above sea level, 0 ~ 95%RH and -10~50oCC, respectively, Max. wind velocity of 15m/s
Splicing mode Auto ,normal
Fiber cleaved angle threshold set 0.1 ~ 10.0 oC , 0.1oCstep
Power supply Li-battery 11.8V , AC100-240V DC12.6V/5.0A
Dimension L169*W152*H155mm
weight 2.4kg 2.9kg(battery)


โมเดล RY-F600H
พลังงาน แบตเตอรี่
Size (cm) 16.9 x 15.2 x 15.5
Weight (kg) 2.4
Warranty type ไม่มีการรับประกัน
Watch Strap Color Black

รายการสินค้าในกล่อง
ตัวเครื่องแบตเตอรี่แท่นชาร์จตัวตัดกล่องใส่เครื่อง
เครื่องเชื่อมต่อ สายออปติกราคาถูก
 Fiber Fusion Splicer
เครื่องต่อสาย เชื่อมสาย ตัดสาย ไฟเบอร์ ออปติกส์รุ่นนี้นำเข้ามาจากประเทศจีน เป็นสินค้าราคาถูกมาก และมีการรับประกันค่อนข้างดี ส่วนตัวเครื่องถือว่าแข็งแรง แบตเตอรี่ก้อใช้ได้นานมากเหมาะสำหรับงาน ที่เข้าสายต่อเชื่อมสาย วันละ 300-500 core สนใจสินค้าเข้าไปที่ http://www.facebook.com/charnchaidotnet หรือโทร งานด่วนที่ 0922638134 ตลอด 24 ชั่วโมง
ดูผลงาน หรือสั่งซื้อเครื่องเชื่อมสายที่ http://www.charnchai.net
http://www.faifathai.com

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

การคำนวณค่า Loss ของ Fiber Optic

ตัวอย่าง : (คำนวณที่ wavelength 1300 nm ตามมาตรฐาน TIA/EIA-568-B.3   ติดตั้งสาย Multimode 50/125 ohm ยาว 500 เมตร มีจุดต่อแบบ Splice 1 จุด ต่อ และมีจุดต่อแบบ Adapter 2 จุดต่อที่ Patch Panel ให้คำนวณหาค่า Loss                                              Limit                        Q’TY                          Loss Fiber Loss                          1.5 dB/km                0.5 km                     0.75 dB Adapter    Loss                   0.75 dB                      2                                1.5 dB Splice Loss                           0.3 dB                       1                               0.3 dB                                                                           Total :                           2.55 dB การคำนวณค่า Loss ของ Fiber Optic ตัวอย่าง : (คำนวณที่ wavelength 850nm ตามมาตรฐาน TIA/EIA-568-B.3   ติดตั้งสาย Multimode 50/125 ohm ยาว 500 เมตร มีจุดต่อแบบ Splice 1 จุดต่อ และมีจุดต่อแบบ Adapter 2 จุดต่อที่ Patch Panel

4. การติดต้้งระบบสายสัญญาณ

4.1       ทั่วไป             การติดตั้งสายสัญญาณแนวราบเป็นส่วนหนึ่งของการติดตั้งระบบสายสัญญาณที่ใช้ในการสื่่อสารคอมพิวเตอร์และโทรคมนาคม โดยเป็นการติดตั้งสายสัญญาณจากจุดรวมการสื่อสารไปยังเต้ารับ หรือขั้วต่อในพื้นที่ใช้งาน ซึ่งประกอบด้วยสายสัญญาณแนวราบ เต้ารับ การเชื่อมต่อสายเชือมต่อหรือสายต่อในจุดรวมการสื่อสาร และอาจจะถึงกลุ่มเต้ารับ หรือจุดศูนย์รวมเต้ารับก็ได้             (คำว่า "แนวราบ" ใช้กับสายสัญญาณที่เดินตามแนวราบหรือแนวนอนในขั้วหรือใต้ฝ้าของอาคาร)             การออกแบบการติดตั้งสายสัญญาณในแนวราบเทียบกับการใช้งานในระบบต่างๆ ดังนี้             ก) ระบบการสื่อสารทางโทรศัพท์             ข) อุปกรณ์ต่อเชื่อมระบบสลับสาย             ค) ระบบการสื่อสารผ่านคอมพิวเตอร์             ง) ระบบแลน (Local area Network)             จ) ระบบภาพเคลื่อนไหว หรือกล้องวงจรปิด        ฉ) ระบบสัญญาณในอาคารต่างๆ เช่น ระบบควบคุมอาคารอัตโนมัติ , ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้, ระบบควบคุมปรับอากาศ ฯลฯ             เนื่องจากการติดตั้งสายสัญญาณแนวราบมีความสำคัญ และเมื่อติดตั้งไปพร้อมกับการก่อสร้า

10. ข้อกำหนดในการติดตั้งระบบสายสัญญาณภายหลังการติดตั้งคือสายสัญญาณ

10.1     ทั่วไป             สำหรับการติดตั้งนอกจากจะต้องดำเนินการตามมารตรฐานนี้แล้วยังต้องติดตั้งตามข้อกำหนดและระเบียบในการติดตั้งที่ถือปฎิบัติในแต่ละท้องที่อีกด้วย 10.1.1  การเดินสายสัญญาณแนวราบและสายสัญญาณหลัก             ควรจะเริ่มประเมินว่าจะติดตั้งสายสัญญาณได้ถูกต้องตามแบบที่ได้กำหนดไว้ และความเค้นในสายควรจะมีน้อยที่สุด (ความเค้นเกิดจากแรงดึงในการดึงและขึงสายสัญญาณ ในการติดดตั้งหรือการรัดสายเนื่องจากการมัดสาย) สายรัดสายสัญญาณที่ใช้รัดรวมสายสัญญาณควรจะรัดให้หลวมพอที่สายสัญญาณจะสามารถเลื่อนไปตามสายได้บ้าง ไม่ควรจะรัดจนสายเสียรูปไป (ต้องศึกษาข้อกำหนดการติดตั้งและกฎระเบียบก่อนการติดตั้ง) 10.2     สายตีเกลียว 100 โอห์ม (สายยูทีพี : สายตีเกลียวไม่มีชิลด์) หรือสายเอสซีทีพี  (สายตีเกลียวหุ้มฟอยล์) 10.2.1  รัศมีความโค้งงอที่ต่ำที่สุด             รัศมีความโค้งงอที่ต่ำที่สุดของสายสัญญาณจะขึ้นอยู่กับสภาพของสายสัญญาณขณะที่ทำการติดตั้งคือมีแรงดึงมากระทำกับสายสัญญาณ และภายหลังการติดตั้งคือสายสัญญาณอยู่นิ่งไม่มีแรงกระทำกับสายสัญญาณ 10.2.1.1 รัศมีความโค้งงอที่ต่ำที่สุดของสายสัญญาณ