ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การคำนวณค่า Loss ของ Fiber Optic


ตัวอย่าง : (คำนวณที่ wavelength 1300 nm ตามมาตรฐาน TIA/EIA-568-B.3
 ติดตั้งสาย Multimode 50/125 ohm ยาว 500 เมตร มีจุดต่อแบบ Splice 1 จุด
ต่อและมีจุดต่อแบบ Adapter 2 จุดต่อที่ Patch Panel ให้คำนวณหาค่า Loss
                                           Limit                       Q’TY                         Loss
Fiber Loss                         1.5 dB/km              0.5 km                    0.75 dB
Adapter   Loss                  0.75 dB                    2                              1.5 dB
Splice Loss                        0.3 dB                      1                              0.3 dB


                                                                          Total :                        2.55 dB

การคำนวณค่า Loss ของ Fiber Optic



ตัวอย่าง : (คำนวณที่ wavelength 850nm ตามมาตรฐาน TIA/EIA-568-B.3


 ติดตั้งสาย Multimode 50/125 ohm ยาว 500 เมตร มีจุดต่อแบบ Splice 1 จุดต่อ


และมีจุดต่อแบบ Adapter 2 จุดต่อที่ Patch Panel ให้คำนวณหาค่า Loss


                                           Limit                       Q’TY                         Loss


Fiber Loss                         3.5 dB/km              0.5 km                    0.75 dB


Adapter   Loss                  0.75 dB                    2                              1.5 dB


Splice Loss                        0.3 dB                      1                              0.3 dB


                                                                          Total :                        3.55 dB

ความคิดเห็น

  1. มีประโยชน์ครับ แต่อยากรู้ว่าค่าที่ได้มาเช่น 0.5km , 0.75 dB นั้นเป็นค่ามาตรฐานหรือได้จากการคำนวณมาครับ
    (มือใหม่ต่อ fiber มาก ๆ)

    ตอบลบ

แสดงความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

4. การติดต้้งระบบสายสัญญาณ

4.1       ทั่วไป             การติดตั้งสายสัญญาณแนวราบเป็นส่วนหนึ่งของการติดตั้งระบบสายสัญญาณที่ใช้ในการสื่่อสารคอมพิวเตอร์และโทรคมนาคม โดยเป็นการติดตั้งสายสัญญาณจากจุดรวมการสื่อสารไปยังเต้ารับ หรือขั้วต่อในพื้นที่ใช้งาน ซึ่งประกอบด้วยสายสัญญาณแนวราบ เต้ารับ การเชื่อมต่อสายเชือมต่อหรือสายต่อในจุดรวมการสื่อสาร และอาจจะถึงกลุ่มเต้ารับ หรือจุดศูนย์รวมเต้ารับก็ได้             (คำว่า "แนวราบ" ใช้กับสายสัญญาณที่เดินตามแนวราบหรือแนวนอนในขั้วหรือใต้ฝ้าของอาคาร)             การออกแบบการติดตั้งสายสัญญาณในแนวราบเทียบกับการใช้งานในระบบต่างๆ ดังนี้             ก) ระบบการสื่อสารทางโทรศัพท์             ข) อุปกรณ์ต่อเชื่อมระบบสลับสาย             ค) ระบบการสื่อสารผ่านคอมพิวเตอร์             ง) ระบบแลน (Local area Network)             จ)...

10. ข้อกำหนดในการติดตั้งระบบสายสัญญาณภายหลังการติดตั้งคือสายสัญญาณ

10.1     ทั่วไป             สำหรับการติดตั้งนอกจากจะต้องดำเนินการตามมารตรฐานนี้แล้วยังต้องติดตั้งตามข้อกำหนดและระเบียบในการติดตั้งที่ถือปฎิบัติในแต่ละท้องที่อีกด้วย 10.1.1  การเดินสายสัญญาณแนวราบและสายสัญญาณหลัก             ควรจะเริ่มประเมินว่าจะติดตั้งสายสัญญาณได้ถูกต้องตามแบบที่ได้กำหนดไว้ และความเค้นในสายควรจะมีน้อยที่สุด (ความเค้นเกิดจากแรงดึงในการดึงและขึงสายสัญญาณ ในการติดดตั้งหรือการรัดสายเนื่องจากการมัดสาย) สายรัดสายสัญญาณที่ใช้รัดรวมสายสัญญาณควรจะรัดให้หลวมพอที่สายสัญญาณจะสามารถเลื่อนไปตามสายได้บ้าง ไม่ควรจะรัดจนสายเสียรูปไป (ต้องศึกษาข้อกำหนดการติดตั้งและกฎระเบียบก่อนการติดตั้ง) 10.2     สายตีเกลียว 100 โอห์ม (สายยูทีพี : สายตีเกลียวไม่มีชิลด์) หรือสายเอสซีทีพี  (สายตีเกลียวหุ้มฟอยล์) 10.2.1  รัศมีความโค้งงอที่ต่ำที่สุด             รัศมีความโค้งงอที่ต่ำที่สุดของสายสัญญาณจะขึ้นอยู่กับสภาพของสายสัญญาณขณะที่ทำการติดตั้งคือมีแรงดึงมากระทำกับสายสัญญ...