ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

Optical Distribution outdoor cabinet

Optical Distribution Outdoor Cabinet

ตู้ FDF Pole Mount 12-48F Outdoor Type

คุณลักษณะของตู้ ไฟเบอร์ออพติก ใยแก้วนำแสง

ทำจากเหล็ก ELECTRO-GAVALNIZED
ใช้สีที่ทดการการติดตั้งภายนอกอาคารทนแดนทนฝนกันการเป้นสนิม ใช้สีฝุ่น Power Coating
ใช้ยางกันน้ำรอบตู้แบบ 3ชั้น เพื่อป้องกันฝุ่นกันความชื้น และกันน้ำเข้า
แถมอุปกรณ์ล็อคสาย ตัวกันสายไฟเบอร์หลุด และล็อค Strenght Member
ในกล่องยังให้ Cable gland ขนาด PG21 (สำหรับอุปกรณ์ Out Door)
ใช้ได้กับ ใยแก้วแก้วนำแสง (fiber optic) แบบ FCและ SC ถึง 48 core
ขนาดของตู้ 330x430x93 mm หนักพอสมควร 10kg


ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

การคำนวณค่า Loss ของ Fiber Optic

ตัวอย่าง : (คำนวณที่ wavelength 1300 nm ตามมาตรฐาน TIA/EIA-568-B.3   ติดตั้งสาย Multimode 50/125 ohm ยาว 500 เมตร มีจุดต่อแบบ Splice 1 จุด ต่อ และมีจุดต่อแบบ Adapter 2 จุดต่อที่ Patch Panel ให้คำนวณหาค่า Loss                                              Limit                        Q’TY                          Loss Fiber Loss                          1.5 dB/km                0.5 km                     0.75 dB Adapter    Loss                   0.75 dB                      2                                1.5 dB Splice Loss                           0.3 dB                       1                               0.3 dB                                                                           Total :                           2.55 dB การคำนวณค่า Loss ของ Fiber Optic ตัวอย่าง : (คำนวณที่ wavelength 850nm ตามมาตรฐาน TIA/EIA-568-B.3   ติดตั้งสาย Multimode 50/125 ohm ยาว 500 เมตร มีจุดต่อแบบ Splice 1 จุดต่อ และมีจุดต่อแบบ Adapter 2 จุดต่อที่ Patch Panel

4. การติดต้้งระบบสายสัญญาณ

4.1       ทั่วไป             การติดตั้งสายสัญญาณแนวราบเป็นส่วนหนึ่งของการติดตั้งระบบสายสัญญาณที่ใช้ในการสื่่อสารคอมพิวเตอร์และโทรคมนาคม โดยเป็นการติดตั้งสายสัญญาณจากจุดรวมการสื่อสารไปยังเต้ารับ หรือขั้วต่อในพื้นที่ใช้งาน ซึ่งประกอบด้วยสายสัญญาณแนวราบ เต้ารับ การเชื่อมต่อสายเชือมต่อหรือสายต่อในจุดรวมการสื่อสาร และอาจจะถึงกลุ่มเต้ารับ หรือจุดศูนย์รวมเต้ารับก็ได้             (คำว่า "แนวราบ" ใช้กับสายสัญญาณที่เดินตามแนวราบหรือแนวนอนในขั้วหรือใต้ฝ้าของอาคาร)             การออกแบบการติดตั้งสายสัญญาณในแนวราบเทียบกับการใช้งานในระบบต่างๆ ดังนี้             ก) ระบบการสื่อสารทางโทรศัพท์             ข) อุปกรณ์ต่อเชื่อมระบบสลับสาย             ค) ระบบการสื่อสารผ่านคอมพิวเตอร์             ง) ระบบแลน (Local area Network)             จ) ระบบภาพเคลื่อนไหว หรือกล้องวงจรปิด        ฉ) ระบบสัญญาณในอาคารต่างๆ เช่น ระบบควบคุมอาคารอัตโนมัติ , ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้, ระบบควบคุมปรับอากาศ ฯลฯ             เนื่องจากการติดตั้งสายสัญญาณแนวราบมีความสำคัญ และเมื่อติดตั้งไปพร้อมกับการก่อสร้า

10. ข้อกำหนดในการติดตั้งระบบสายสัญญาณภายหลังการติดตั้งคือสายสัญญาณ

10.1     ทั่วไป             สำหรับการติดตั้งนอกจากจะต้องดำเนินการตามมารตรฐานนี้แล้วยังต้องติดตั้งตามข้อกำหนดและระเบียบในการติดตั้งที่ถือปฎิบัติในแต่ละท้องที่อีกด้วย 10.1.1  การเดินสายสัญญาณแนวราบและสายสัญญาณหลัก             ควรจะเริ่มประเมินว่าจะติดตั้งสายสัญญาณได้ถูกต้องตามแบบที่ได้กำหนดไว้ และความเค้นในสายควรจะมีน้อยที่สุด (ความเค้นเกิดจากแรงดึงในการดึงและขึงสายสัญญาณ ในการติดดตั้งหรือการรัดสายเนื่องจากการมัดสาย) สายรัดสายสัญญาณที่ใช้รัดรวมสายสัญญาณควรจะรัดให้หลวมพอที่สายสัญญาณจะสามารถเลื่อนไปตามสายได้บ้าง ไม่ควรจะรัดจนสายเสียรูปไป (ต้องศึกษาข้อกำหนดการติดตั้งและกฎระเบียบก่อนการติดตั้ง) 10.2     สายตีเกลียว 100 โอห์ม (สายยูทีพี : สายตีเกลียวไม่มีชิลด์) หรือสายเอสซีทีพี  (สายตีเกลียวหุ้มฟอยล์) 10.2.1  รัศมีความโค้งงอที่ต่ำที่สุด             รัศมีความโค้งงอที่ต่ำที่สุดของสายสัญญาณจะขึ้นอยู่กับสภาพของสายสัญญาณขณะที่ทำการติดตั้งคือมีแรงดึงมากระทำกับสายสัญญาณ และภายหลังการติดตั้งคือสายสัญญาณอยู่นิ่งไม่มีแรงกระทำกับสายสัญญาณ 10.2.1.1 รัศมีความโค้งงอที่ต่ำที่สุดของสายสัญญาณ